top of page
การจัดการค่าใช้จ่าย ที่ไม่สมบูรณ์

การจัดการค่าใช้จ่าย ที่ไม่สมบูรณ์

฿20,000.00 ราคาปกติ
฿19,500.00ราคาขายลด

VDO ตัวอย่างเนื้อหา

👉 https://youtu.be/V-LLcIFXRN8

👉 https://youtu.be/aQy8C7EsPhM

👉 https://youtu.be/sUuJ6qrI3C0

👉 https://youtu.be/Ym_bqDx2CDk

👉 https://youtu.be/6nktdsZvbn0

👉 https://youtu.be/vMLU0bgXrhw

 

บทที่ 1 หลักการและเหตุผลในการแก้ไขค่าใช้จ่าย
▪ หลักการของค่าใช้จ่ายที่ไม่สมบูรณ์
▪ รูปแบบของค่าใช้จ่ายที่ไม่สมบูรณ์
▪ ความสัมพันธ์ระหว่างค่าใช้จ่ายกับภาษี
▪ อ่านทำความเข้าใจคู่มือสรรพากร
-----------------------------------
บทที่ 2 การวางระบบการจ่ายเงินในองค์กร (สำคัญมาก)
▪ การตั้งระบบเงินสดจ่าย และใบสำคัญจ่าย
▪ การวางระบบเงินสดย่อย
-----------------------------------
บทที่ 3 การใช้เอกสารประกอบการเบิกค่าใช้จ่าย
▪ เอกสารในระบบเงินสดย่อย
▪ การเบิกจ่ายโดยใช้ ใบสำคัญจ่าย Payment Voucher / ทะเบียนใบสำคัญจ่าย
▪ การกรอกใบสำคัญรับเงิน / การทำทะเบียนคู่ค้า
▪ การกรอกใบรับรองแทนใบเสร็จรับเงิน
▪ ใบเบิกค่าเดินทาง
-----------------------------------
บทที่ 4 ตัวอย่างการจัดเอกสารค่าใช้จ่าย


▪ กลุ่มที่ 1 ค่าใช้จ่ายที่ไม่มีบิล และบิลไม่สมบูรณ์
กรณีที่ 1 ซื้อสิ่งของจากร้านโชห่วย
กรณีที่ 2 ซื้อของสดจากตลาด
กรณีที่ 3 ซื้อของจาก เซเว่น-อีเลฟเว่น (ได้ใบกำกับภาษีอย่างย่อ)
กรณีที่ 4 ซื้อของมาใช้เพื่อกิจการ แต่ไม่ได้เปิดบิลในนามบริษัท
กรณีที่ 5 จ่ายค่าส่งไปรษณีย์แต่บิลเป็นชื่อพนักงาน
กรณีที่ 6 จ่ายค่าส่งเคอรี่แต่พนักงานไม่ได้ทำหนังสือรับรองหัก ณ ที่จ่าย
กรณีที่ 7 ค่าโทรศัพท์สำนักงาน ไม่ได้หัก ณ ที่จ่าย บันทึกค่าใช้จ่ายได้ไหม
กรณีที่ 8 จ่ายจ้างคนงานมาช่วยนับสต๊อกของ 5 วัน จ่าย 1,500 บาท
บันทึกค่าใช้จ่ายอย่างไร ต้องหัก ณ ที่จ่ายหรือไม่
กรณีที่ 9 ค่าไฟฟ้าสำนักงาน เป็นชื่อกรรมการบันทึกค่าใช้จ่ายได้ไหม
กรณีที่ 10 ค่าใช้จ่ายทำบุญบริษัทประจำปี (ตามประเพณี เช่น ตรุษจีน ไหว้เจ้า)
กรณีที่ 11 ค่าใช้จ่ายซื้อของไหว้ศาล ทุกวันพระ
กรณีที่ 12 ทำบุญทอดกฐินในนามบริษัท บันทึกค่าใช้จ่ายได้หรือไม่
กรณีที่ 13 โอนเงินค่าส่งคืนลูกค้าเนื่องจากส่งสินค้าผิด
กรณีที่ 14 ซื้อสินค้าจากบุคคลธรรมดา
กรณีที่ 15 ซื้อสินทรัพย์จากบุคคลธรรมดา
กรณีที่ 16 ซื้อของ OTOP ไม่มี VAT มาขายมี VAT
กรณีที่ 17 สั่งของจากจีน ไม่มีใบขนเข้า
กรณีที่ 18 เงินทอนพิเศษให้ฝ่ายจัดซื้อเพื่อเป็นสินน้ำใจในการสั่งสินค้า
-----------------------------------
บทที่ 4 ตัวอย่างการจัดเอกสารค่าใช้จ่าย


▪ กลุ่มที่ 2 ค่าเดินทางและยานพาหนะ
กรณีที่ 19 รถประเภทใด ใช้ทางภาษีได้บ้าง
กรณีที่ 20 ซื้อรถในนามกิจการ หรือในนามเจ้าของ อย่างไรดีกว่ากัน
กรณีที่ 21 เช่ารถจากกรรมการเพื่อใช้ในกิจการ
กรณีที่ 22 การเบิกจ่ายค่าน้ำมันรถกรรมการ
กรณีที่ 23 ค่าน้ำมันรถกระบะของกิจการ
กรณีที่ 24 เบิกค่าทางด่วน ค่าที่จอดรถ
กรณีที่ 25 เติม Easy Pass รถกระบะของบริษัท
กรณีที่ 26 ค่าเปลี่ยนยางรถยนต์
กรณีที่ 27 ค่ารถ Limousine ไปรับที่สนามบิน ใช้เป็นค่าใช้จ่ายได้ไหม
กรณีที่ 28 ซื้อบัตร BTS 25 เที่ยว เป็นกองกลางเพื่อใช้เดินทาง
กรณีที่ 29 ค่าเดินทางของพนักงานไปหาลูกค้า โดย Grab
กรณีที่ 30 ค่าเดินทางของพนักงานด้วยแท็กซี่
กรณีที่ 31 จ้างวินมอเตอร์ไซค์หน้าปากซอย ส่งสินค้าด่วนให้ลูกค้า
กรณีที่ 32 รถบริษัทโดนล็อคล้อ ต้องจ่ายค่าปรับ เบิกได้หรือไม่
กรณีที่ 33 จ่ายค่าปรับจราจร เพราะขับทับเส้น จัดการอยางไร
กรณีที่ 34 ค่าใช้จ่ายในการดัดแปลงรถตู้


▪ กลุ่มที่ 3 ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการโฆษณา ประชาสัมพันธ์
กรณีที่ 35 ค่าโฆษณา Ads Facebook ใช้เอกสารอะไรในการบันทึกค่าใช้จ่ายบ้าง
ต้องนำส่งภาษีไหม
กรณีที่ 36 ค่าโฆษณา Google ใช้เอกสารอะไรในการบันทึกค่าใช้จ่ายบ้าง ต้องนำส่งภาษีไหม
กรณีที่ 37 ค่าโฆษณา Lazada ใช้เอกสารอะไรในการบันทึกค่าใช้จ่ายบ้าง ต้องนำส่งภาษีไหม
กรณีที่ 38 ค่าโฆษณา Line OA ใช้เอกสารอะไรในการบันทึกค่าใช้จ่ายบ้าง ต้องนำส่งภาษีไหม
กรณีที่ 39 จ้าง KOL คนมีชื่อเสียงในโลกโซเชียลรีวิวสินค้า ต้องทำอย่างไร
กรณีที่ 40 จ้าง KOL หรือเพจดังทำ VDO รีวิวสินค้า และจ่ายเงินให้กดโฆษณาใน Facebook
กรณีที่ 41 ให้สินค้าตัวอย่างกับ KOL
กรณีที่ 42 ซื้อ 10 ชิ้น แถมแก้วน้ำ สินค้าที่แถมจะตัดเป็นค่าใช้จ่ายอย่างไร
กรณีที่ 43 จ้าง Outsource ฟรีแลนซ์ จำเป็นต้องหัก ณ ที่จ่ายหรือไม่


▪ กลุ่มที่ 4 ค่ารับรอง
กรณีที่ 44 พาลูกค้าไปทานอาหาร
กรณีที่ 45 พาลูกค้าไปนวดสปา
กรณีที่ 46 พาลูกค้าไปตีกอล์ฟ
กรณีที่ 47 ซื้อกาแฟสตาร์บัคส์ได้รับใบกำกับภาษีอย่างย่อ
กรณีที่ 48 ซื้อ Starbucks ไปให้ลูกค้า เพราะนัดนำเสนอสินค้านอกสถานที่
บันทึกค่าใช้จ่ายได้หรือไม่
กรณีที่ 49 สั่งอาหารผ่าน Grab ไปส่งบ้านลูกค้า เพื่อเยี่ยมเนื่องจากลูกค้าป่วย
จัดการเอกสารอย่างไร
กรณีที่ 50 ส่งพวกหรีด ร่วมแสดงความเสียใจให้กับลูกค้า
กรณีที่ 51 ซื้อแมลงทอด จากรถเข็นผ่านหน้าร้าน ซื้อเลี้ยงลูกค้าที่กำลังนั่งรอสินค้า
กรณีที่ 52 ซื้อไวน์ มอบเป็นของขวัญให้กับลูกค้า วันขึ้นบ้านใหม่ ทำเบิกอย่างไร
กรณีที่ 53 จ้างบริษัทฉีดฆ่าเชื่อ ไปฉีดให้กับบริษัทลูกค้า บันทึกเป็นค่าใช้จ่ายได้หรือไม่


▪ กลุ่มที่ 5 ค่าส่งเสริมการขาย
กรณีที่ 54 ซื้อแพ็คเกจที่พักภูเก็ต ให้กับลูกค้าและครอบครัว สำหรับผู้ที่มียอดซื้อสะสมเกิน
10,000,000 บาท ใน 6 เดือน
กรณีที่ 55 ซื้อบัตร Voucher ล่องเรือสำราญ จากเว็บไซต์ ขายดิว เพื่อเอาไว้ให้ลูกค้าที่สั่ง
ซื้อยอดเยอะที่สุดในเดือน
กรณีที่ 56 เหมาเรือล่องแม่น้ำเจ้าพระยา เลี้ยงรับรองลูกค้าที่มียอดสั่งซื้อต่อเนื่อง 6 เดือน
กรณีที่ 57 ซื้อทองแจกลูกค้า ตามแคมเปญ
กรณีที่ 58 ไลฟ์สดขายสินค้าราคาโปรโมชั่น 1 บาท ตัดเป็นค่าใช้จ่ายอย่างไร


▪ กลุ่มที่ 6 อื่นๆ
กรณีที่ 59 เบิกเงินคืนกรรมการเนื่องจากกรรมการตัดบัตรเครดิตไปก่อน
กรณีที่ 60 เบิกเงินคืนพนักงานเนื่องจากพนักงานตัดบัตรเครดิตไปก่อน

  • ข้อมูลสินค้า

    นี่คือส่วนของรายละเอียดสินค้า ตรงนี้เป็นพื้นที่ที่เหมาะกับการลงข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับสินค้าของคุณ เช่น ขนาด วัตถุดิบ คำแนะนำในการดูแลและการทำความสะอาด และยังเป็นที่ที่เหมาะกับการบรรยายลักษณะเด่นของสินค้าและประโยชน์ที่ลูกค้าจะได้รับ

  • นโยบายการคืนสินค้าและการคืนเงิน

    ตรงนี้คือนโยบายการส่งคืนสินค้าและการคืนเงิน ซึ่งเหมาะสมสำหรับการแจ้งให้ลูกค้าทราบว่าต้องทำอย่างไรหากไม่พอใจสินค้าที่ซื้อไป นโยบายการคืนเงินและแลกเปลี่ยนสินค้าที่ชัดเจนเป็นวิธีการสร้างความน่าเชื่อถือที่ดีมาก ทั้งยังช่วยให้ลูกค้ารู้สึกว่าสามารถซื้อสินค้าได้อย่างมั่นใจ

  • ข้อมูลการจัดส่งสินค้า

    นี่คือส่วนของนโยบายการจัดส่งสินค้า ตรงนี้เป็นพื้นที่ที่เหมาะกับการลงข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับวิธีการจัดส่งสินค้า การบรรจุหีบห่อ และค่าใช้จ่าย ข้อมูลเกี่ยวนโยบายการจัดส่งสินค้าที่จัดเจนเป็นวิธีการสร้างความเชื่อมั่นที่ยอดเยี่ยม ทั้งยังช่วยให้ลูกค้ารู้สึกว่าสามารถซื้อสินค้าได้อย่างมั่นใจ

shopping-trolley.png
bottom of page